คัณฐีธัมมปทัฏฐกถา
ยกศัพท์แปล ภาค 8
เรื่องปลากปิละ
1. 5/17 ตั้งแต่ อถ ภควา ตสฺมึ ขเณ สนนิปติตาย
เป็นต้นไป.
อถ ครั้งนั้น ภควา อ. พระผู้มีพระภาคเจ้า โอโลเกตฺวา ทรง
แลดูแล้ว จิตฺตวารํ ซึ่งวาระแห่งจิต ปริสาย ของบริษัท สนฺนิปติตาย
อันประชุมกันแล้ว ตสฺมึ ขเณ ในขณะนั้น กเถตฺวา ตรัสแล้ว
กปิลสุตฺตํ ซึ่งกปิลสูตร สุตฺตนิปาเต ในสุตตนิบาตว่า
(ธีรา) อ.นักปราชญ์ ท. อาหุ กล่าวแล้ว เอตํ
ทุวิธกมฺมํ ซึ่งกรรมอันมีอย่างสองนี้ ธมฺมจริยํ คือ
ซึ่งการระพฤติซึ่งธรรม พฺรหฺมจริยํ คือ ซึ่งการ
ประพฤติอันประเสริฐ วสุตฺตมํ ว่าเป็นแก้วอันสูง
สุด อิติ ดังนี้เป็นต้น
เทเสตุํ เพื่ออันทรงแสดง ธมฺมํ ซึ่งธรรม ตํขณานุรูปํ อันสมควร
แก่ขณะนั้น อภาสิ ได้ทรงภาษิตแล้ว คาถา ซึ่งพระคาถา ท. อิมา
เหล่านี้ว่า
ตณฺหา อ. ตัณหา วฑฺฒติ ย่อมเจริญ มุสฺส
ปุคฺคลสฺส แก่บุคคลผู้เกิดแต่มนู ปมตฺจาริโน
ผู้มีปกติประพฤติประมาทแล้ว มาลุวา วิย ราวกะ
อ. เถาย่านทราย (วฑฺฒฺตี) เจริญอยู่ โส
ปุคฺคโล อ. บุคคลนั้น ปริปฺลวติ ย่อมเร่รอนไป
หุราหุรํในภพใหญ่และภพน้อย วานโร อิว ราวกะ
อ. ลิง อิจฺฉํ ตัวต้องการอยู่ ผลํ ซึ่งผลไม้
(ปริปฺลวนฺโต) เร่รอนไปอยู่ วนสฺมึ ในป่า
ตณฺหา อ. ตัณหา เอสา นั่น ชมฺมี เป็นธรรม-
ชาติลามก (หุตฺวา) เป็น วิสตฺติกา อันมีอัน
ซ่านไปในอารมณ์อันมีอย่างต่าง ๆ โลเก ในโลก
สหเต ย่อมครอบงำ ยํ ปุคฺคลํ ซึ่งบุคคลใด
โสกา อ. ความเศร้าโศก ท. ปวฑฺฒนฺติ ย่อมเจริญ
ทั่ว ตสฺส ปุคฺคลสฺส แก่บุคคลนั้น วีรณํ อิว
ราวกะ อ. หญ้าคมบาง อภิวุฏฺฐํ อันอันฝนตกรดแล้ว
(วฑฺฒนฺตํ) เจริญอยู่ จ แต่ว่า โย ปุคฺคโล
อ. บุคคลใด สหเต ย่อมย่ำยี ตณฺหํ ซึ่งตัณหา
เอตํ นั่น ชมฺมึ อันลามก ทุรจฺจยํ อันอันบุคคล
ล่วงได้โดยยาก โลเก ในโลก โสกา อ. ความ
เศร้าโศก ท. ปปตนฺติ ย่อมตกไป ตมฺหา ปุคฺคลา
จากบุคคลนั้น (ปปตนฺตํ) ตกไปอยู่ โปกฺขรา จากใบ
บัว ตํ เพราะเหตุนั้น อหํ อ. เรา วทามิ จะกล่าว
โว กะท่าน ท. ว่า ตุมฺเห อ. ท่าน ท. ยาวนฺตา
มีประมาณเพียงใด สมาคตา เป็นผู้สมาคมกันแล้ว
เอตฺถ ฐาเน ในที่นี้ (อตฺถ) ย่อมเป็น ภทฺทํ
อ. ความเจริญ (โหตุ) จงมี โว แก่ท่าน ท.
(ตาวนฺตานํ ผู้มีประมาณเพียงนั้น (อิติ) ดังนี้
ตุมฺเห อ. ท่าน ท. ขนถ จงขุด มูลํ ซึ่งรากเหงา
ตณฺหาย ของตัณหา อุสีรตฺโล อิว ราวกะ อ. บุคคล
ผู้มีความต้องการด้วยหญ้าแฝก (ขนนฺโต) ขุดอยู่
วีรณํ ซึ่งหญ้าคมบาง มาโร อ. มาร มา ภญฺชิ
อย่างระรานแล้ว โว ซึ่งท่าน ท. ปุนปฺปุนํ บ่อย ๆ
โสโต อิว รากกะ อ. กระแส (ภญฺชนฺโต)
ระรานอยู่ นฬํ ว ซึ่งไม้อ้อเทียว อิติ ดังนี้ ฯ
(อตฺโถ) อ. อรรถว่า ฌานํ อ.ฌาน นเอว (วฑฺฌติ) ย่อม
ไม่เจริญนั่นเทียว วิปสฺสนามคฺคผลานิ อ. วิปัสสนาและมารดาและผล ท
น วฑฺฌนฺติ ย่อมไม่เจริญ ปุคฺคลสฺส แก่บุคคล ปมตฺจาริสฺส ผู้
ชื่อว่ามีปกติประพฤติประมาทแล้ว ปมาเทน เพราะความประมาท
สติโวสฺสคฺคลกฺขเณน อันมีการปล่อยลงซึ่งสติเป็นลักษณะ (อิติ) ดังนี้
ตตฺถ ปเทสุ ในบท ท. เหล่านั้นหนา (ปทสฺส) แห่งบทว่า
ปมตฺตจาริโน อิติ ดังนี้ ฯ
อตฺโถ อ. อธิบายว่า ปน เหมือนอย่างว่า มาลุวา อ. เถาย่าน
ทราบ คือว่า ลตา อ. เถาวัลลิ์ สํสิพฺพนฺตี หุ้มห่ออยู่ ปริโยนทฺธนฺตี
รวบรัดอยู่ รุกฺขํ ซึ่งต้นไม่ วฑฺฒติ ซึ่งว่าย่อมเจริญ วินาสาย เพื่อ
ความพินาศ ตสฺส รุกฺขสฺส แห่งต้นไม้นั้น ยถา ฉันใด ตณฺหา
อ. ตัณหา วฑฺฒติ ชื่อว่าย่อมเจริญ อสฺส ปุคฺคลสฺส แก่บุคคลนั้น
ฉ ทฺวารานิ นิสฺสาย ปุนปฺปุนํ อุปฺปชฺชนาโต เพราะอันอาศัย ซึ่ง
ทวาร ท. 6 แล้วเกิดขึ้น บ่อย ๆ เอวํ ฉันนั้น อิติ ดังนี้ ฯ
(อตฺโถ) อ. อรรถว่า ปุคฺคโล อ. บุคคล โส นั้น คือว่า
ตณฺหาคติโก ผู้มีตัณหาเป็นคติ ปริปฺลวติ ย่อมเร่ร่อนไป คือว่า ธาวติ
ย่อมแล่นไป ภเว ในภพ ภเว ในภพ (อิติ) ดังนี้ (คาถาปาทสฺส)
แห่งบาทแห่งพระคาถาว่า โส ปริปฺลวติ หุราหุรํ อิติ ดังนี้ ฯ
(ปุจฺฉา) อ. อันถามว่า (โส ปุคฺคโล) อ. บุคคลนั้น
(ปริปฺลวติ) ย่อมเร่ร่อนไป (หุราหุรํ) ในภพใหญ่และภพน้อย ยถา
โดยประการใด (ตํ ปการทสฺสนํ) อ. อุทาหรณ์เป็นเครื่องแสดงซึ่ง
ประการนั้น กึ วิย เป็นเพียงดังว่าอะไร (โหติ) ย่อมเป็น อิติ
ดังนี้ ฯ
(วิสฺสชฺชนํ) อ.อันเฉลยว่า (โส ปุคฺคโล) อ. บุคคลนั้น
(ปริปฺลวติ) ย่อมเร่ร่อนไป (หุราหุรํ) ในภพใหญ่และภพน้อย
วานโร อิว ราวกะ อ. ลิง อิจฺฉํ ตัวปรารถนาอยู่ ซึ่งผลไม้
(ปริปฺลวนฺโต) เร่รอนไปอยู่ วนสฺมึ ในป่า อิติ ดังนี้ ฯ
(อตฺโถ) อ. อรรถว่า วานโร อ. ลิง อิจฺฉนฺโต ตัวปรารถนา
อยู่ รุกฺขผลํ ซึ่งผลของต้นไม้ ธาวติ ย่อมแล่นไป วนสฺมึ ในป่า
คณฺหาติ ย่อมจับ สาขํ ซึ่งกิ่งไม้ รุกฺขสฺส ของต้นไม้ ตสฺส ตสฺส
นั้นนั้น มุญฺจิตฺวา ปล่อยแล้ว ตํ สาขํ ซึ่งกิ่งไม้นั้น คณฺหาติ ย่อม
จับ อญฺญํ สาขํ ซึ่งกิ่งอื่น มุญฺจิตฺวา ปล่อยแล้ว ตํปิ สาขํ ซึ่งกิ่ง
แม้นั้น คณฺหาติ ซึ่งความเป็นแห่งสัตว์อันบุคคลพึงกล่าวว่า (โส
วานโร) อ.ลิงนั้น อลภิตฺวา ไม่ได้แล้ว สาขํ ซึ่งกิ่งไม้ สนฺนิสินฺโน
นั่งด้วยดีแล้ว อิติ ดังนี้ ยา ฉันใด ปุคฺคโล อ. บุคคล ตณฺหา-
คติโก ผู้มีตัณหาเป็นคติ ธาวนฺโต แล่นไปอยู่ หุราหุรํ ในภพใหญ่
และภพน้อย น อาปชฺชติ ย่อมไม่ถึงทั่ว วตฺตพฺพตํ ซึ่งความเป็น
แห่งบุคคลผู้อันใคร ๆ พึงกล่าวว่า (โส ปุคฺคโล) อ. บุคคลนั้น
อลภิตฺวา ไม่ได้แล้ว อารมฺมณํ ซึ่งอารมณ์ ปตฺโต ถึงแล้ว อปฺปวตฺตํ
ซึ่งความไม่เป็นไป ตณฺหาย ตามตัณหา อิติ ดังนี้ เอวํเอว ฉันนั้น
นั่นเทียว อิติ ดังนี้ (คาาปาทสฺส) แห่งบาทแห่งพระคาถาว่า
ผลมิจฺฉํว วนสฺมึ วานโร อิติ ดังนี้ ฯ
อตฺโถ อ. อรรถว่า ฉทฺวาริกตณฺหา อ. ตัณหาอันเป็นไปใน
ทวาร 6 เอสา นั่น ชมฺมี ชื่อว่าเป็นธรรมชาติลามก (ตสฺสา ตณฺหาย)
ลามกภาเวน เพราะความที่แห่งตัณหานั้น เป็นธรรมชาติลามก (หุตฺวา)
เป็น คตา อันถึงแล้ว สงฺขยํ ซึ่งอันนับพร้อมว่า วิสตฺติกา อันมีอันซ่านไป
ในอารมณ์อันมีอย่างต่าง ๆ อิติ ดังนี้ (ตสฺสา ตณฺหาย) วิสตฺตตาย
เพราะความที่แห่งตัณหานั้นเป็นธรรมชาติซ่านไปแล้ว คือว่า (ตสฺสา
ตณฺหาย) อาสตฺตตาย เพราะความที่แห่งตัณหานั้นเป็นธรรมชาติข้อง
แล้ว รูปาทีสุ อารมฺมเณสุ ในอารมณ์ ท. มีรูปเป็นต้น (ตสฺสา
ตณฺหาย) วิสาหารตาย โดยความที่แห่งตัณหานั้น เป็นธรรมชาติเพียง
ดังว่าอาหารอันเจือแล้วด้วยยาพิษ (ตสฺสา ตณฺหาย) วิสปุปฺผตาย
โดยความที่แห่งตัณหานั้น เป็นธรรมชาติเพียงดังว่าดอกไม้อันเจือแล้ว
ด้วยยาพิษ (ตสฺสา ตณฺหาย) วิสผลตาย โดยความที่แห่งตัณหานั้น
เป็นธรรมชาติเพียงดังว่าผลไม้อันเจือแล้วด้วยอาพิษ (ตสฺสา ตณฺหาย)
วิสปริโภคตาย โดยความที่แห่งตัณหานั้น เป็นธรรมชาติเพียงดังว่า
เครื่องบริโภคอันเจือแล้วด้วยยาพิษ อภิภวติ ย่อมครอบงำ ยํ ปุคฺคลํ
ซึ่งบุคคลใด วีรณติณํ อ. หญ้าชื่อว่าคมบาง ปุนปฺปุนํ วสสนฺเตน
เทเวน อภิวุฏฺฐํ อันอันฝน อันตกอยู่ บ่อย ๆ ตกรดแล้ว วฑฺฒติ
ย่อมเจริญ วเน ในป่า ยถา นาม ชื่อฉันใด โสกา อ. ความ
เศร้าโศก ท. วฏฺฏมูลกา อันมีวัฏฏะเป็นรากเหง้าอภิวฑฺฒนฺติ ย่อม
เจริญยิ่ง อนฺโต ในภายใน ตสฺส ปุคฺคลสฺส ของบุคคลนั้น เอวํ
ฉันนั้น อิติ ดังนี้ (ปทสฺส) แห่งบทว่า ยํ อิติ ดังนี้เป็นต้น ฯ
อตฺโถ อ. อรรถว่า ปน ก็ โย ปุคฺคโล อ. บุคคลใด สหติ
ย่อมย่ำยี คือว่า อภิภวติ ย่อมครอบงำ ตณฺหํ ซึ่งตัณหา เอตํ นั่น