เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกทุกปัฏฐาน] 55. มหันตรทุกะ 1. เหตุทุกะ

เหตุปัจจัย มี 3 วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 3 วาาระ (ย่อ)

... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นโอฆะซึ่งเป็นเหตุ ฯลฯ
... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นโยคะซึ่งเป็นเหตุ ฯลฯ
... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ซึ่งเป็นเหตุ ... (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี 2 วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 2 วาาระ (ย่อ)

... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัย
ละ 1 วาระ ย่อ)

55. มหันตรทุกะ 1. เหตุทุกะ
[86] ... อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัย
ละ 1 วาระ)
... อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ซึ่งไม่เป็นเหตุ ... (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี 9 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ ฯลฯ
ปุเรชาตปัจจัย มี 1 วาระ
อาเสวนปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 9 วาระ (ย่อ)

[87] ... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ
1 วาระ ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :835 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกทุกปัฏฐาน] 55. มหันตรทุกะ 1. เหตุทุกะ
... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัย
ละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัย
ละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่ระคนกับจิตซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัย
ละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัย
ละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิตซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัย
ละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นไปตามจิตซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัย
ละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐานซึ่งเป็นเหตุ ...
(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับ
จิตซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต
ซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นภายนอกตนซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมีปัจจัย
ละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเป็นเหตุ ... (ทุกปัจจัยมี
ปัจจัยละ 1 วาระ ย่อ)
... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือซึ่ง
เป็นเหตุ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :836 }