เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกติกปัฏฐาน] 11. เสกขติกะ 1. กุสลติกะ
[107] สภาวธรรมที่มีเหตุอันไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน 3 ซึ่งเป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุอันไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 ซึ่งเป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 1 วาระ)

10. อาจยคามิติกะ 1. กุสลติกะ
1. ปฏิจจวาร - เหตุปัจจัย
[108] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติซึ่งเป็นกุศลอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติซึ่งเป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานซึ่งเป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงนิพพานซึ่งเป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (1)
(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 2 วาระ ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติซึ่งเป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติซึ่งเป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ทุกปัจจัยมี
ปัจจัยละ 1 วาระ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเป็นอัพยากฤตอาศัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 1 วาระ)

11. เสกขติกะ 1. กุสลติกะ
1. ปฏิจจวาร - เหตุปัจจัย
[109] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลซึ่งเป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลซึ่งเป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (1)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :789 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกติกปัฏฐาน] 12. ปริตตติกะ 1. กุสลติกะ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเป็นกุศลอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (1)
(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 2 วาระ ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 1 วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลซึ่งเป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลซึ่งเป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี 9 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ ฯลฯ
อาเสวนปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 9 วาระ

(ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)

12. ปริตตติกะ 1. กุสลติกะ
1. ปฏิจจวาร - เหตุปัจจัย
[110] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะซึ่งเป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะซึ่ง
เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะซึ่งเป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะซึ่งเป็น
กุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะซึ่งเป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะซึ่ง
เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (1)
(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 3 วาระ ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :790 }