เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน] 1. เหตุทุกะ 5. สังกิลิฏฐติกะ
3. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกบท 1. ปฏิจจวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย
[202] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์
ของกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์
ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ)

[203] เหตุปัจจัย มี 9 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
อธิปติปัจจัย มี 9 วาระ
อนันตรปัจจัย มี 9 วาระ
สมนันตรปัจจัย มี 9 วาระ
สหชาตปัจจัย มี 9 วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี 9 วาระ
นิสสยปัจจัย มี 9 วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี 9 วาระ
อาเสวนปัจจัย มี 9 วาระ
กัมมปัจจัย มี 9 วาระ
วิปากปัจจัย มี 9 วาระ
อาหารปัจจัย มี 9 วาระ
อินทรียปัจจัย มี 9 วาระ
ฌานปัจจัย มี 9 วาระ
มัคคปัจจัย มี 9 วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี 9 วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี 9 วาระ
อัตถิปัจจัย มี 9 วาระ
นัตถิปัจจัย มี 9 วาระ
วิคตปัจจัย มี 9 วาระ
อวิคตปัจจัย มี 9 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :75 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน] 1. เหตุทุกะ 5. สังกิลิฏฐติกะ
นอธิปติปัจจัย
[204] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของ
กิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส
อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส
อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของ
กิเลสเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส
อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของ
กิเลสเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (2) (ย่อ)

[205] นอธิปติปัจจัย มี 6 วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี 9 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี 9 วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี 9 วาระ
นกัมมปัจจัย มี 3 วาระ
นวิปากปัจจัย มี 9 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี 9 วาระ (ย่อ)


นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 6 วาระ (ย่อ)
เหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี 6 วาระ (ย่อ)

(พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร
ให้พิสดารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :76 }