เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 2. วิปากติกะ
สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งเป็นเหตุให้เกิดวิบากเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อกุศลซึ่งเป็นเหตุให้เกิดวิบากโดยอารัมมณปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งเป็นเหตุให้เกิดวิบากเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อกุศลซึ่งเป็นเหตุให้เกิดวิบากโดยอารัมมณปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งเป็นเหตุให้เกิดวิบากเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
กุศลซึ่งเป็นเหตุให้เกิดวิบากโดยอารัมมณปัจจัย (2) (ย่อ)

[16] เหตุปัจจัย มี 2 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ
อธิปติปัจจัย มี 3 วาระ
อนันตรปัจจัย มี 2 วาระ ฯลฯ
สหชาตปัจจัย มี 2 วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี 2 วาระ
นิสสยปัจจัย มี 2 วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี 4 วาระ
อาเสวนปัจจัย มี 2 วาระ
กัมมปัจจัย มี 2 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 2 วาระ

(ย่อ พึงขยายให้พิสดารเหมือนปัญหาวารในกุสลติกะ)
[17] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด
วิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี 1 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 1 วาระ (ย่อ)

(สหชาตวาร ฯลฯ ปัญหาวาร ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 1 วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :747 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกติกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 3. อุปาทินนติกะ
1. กุสลติกะ 3. อุปาทินนติกะ
1 - 7. ปฏิจจวารเป็นต้น
ปัจจยจตุกกนัย
[18] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งกรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
(ย่อ)

เหตุปัจจัย มี 1 วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี 1 วาระ (ย่อ)

(สหชาตวาร ฯลฯ ปัญหาวาร ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ 1 วาระ)
[19] สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่
เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งกรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตซึ่งกรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย (1)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :748 }