เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกทุกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 2. สเหตุกทุกะ
ปัจจนียะ
นเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่
มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มี
เหตุเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่
มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็น
อัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (1) (ย่อ)

[250] นเหตุปัจจัย มี 1 วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ
นอธิปติปัจจัย มี 3 วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี 3 วาระ (ย่อ)


นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 3 วาระ (ย่อ)
อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 1 วาระ (ย่อ)

(สหชาตวาร ฯลฯ สัมปยุตตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

เหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[251] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุโดยเหตุปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มี
เหตุโดยอารัมมณปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่ง
ไม่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย (2)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :610 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกทุกปัฏฐาน] 1. กุสลติกะ 2. สเหตุกทุกะ
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
ซึ่งไม่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่ง
ไม่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มี
เหตุโดยอนันตรปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่ง
ไม่มีเหตุโดยอนันตรปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
ซึ่งไม่มีเหตุโดยอนันตรปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่ง
ไม่มีเหตุโดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ (2)
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งไม่มี
เหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย (ย่อ)

[252] เหตุปัจจัย มี 1 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ
อนันตรปัจจัย มี 4 วาระ
สมนันตรปัจจัย มี 4 วาระ
สหชาตปัจจัย มี 3 วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี 1 วาระ
นิสสยปัจจัย มี 4 วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี 4 วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี 2 วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี 2 วาระ
อาเสวนปัจจัย มี 2 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 44 หน้า :611 }