เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 28.คันถสัมปยุตตทุกะ 7.ปัญหาวาร
... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ...
ความปรารถนา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 3 อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ มานะ ... ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ราคะ ... โทสะ
... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงจัดอุปนิสสยปัจจัยไว้ทั้ง 3 วาระ)
บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ
... มานะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ...
ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะโดยอุปนิสสยปัจจัย (3)
[84] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 3 อย่าง คือ อารัมมณูป-
นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :371 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 28.คันถสัมปยุตตทุกะ 7.ปัญหาวาร
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิและปฏิฆะโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วย
โทมนัสและปฏิฆะโดยอุปนิสสยปัจจัย (3)

ปุเรชาตปัจจัย
[85] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยปุเรชาตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น
ราคะที่วิปปยุตจากคันถะจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจาก
คันถะ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิและปฏิฆะโดยปุเรชาตปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
โดยปุเรชาตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่สัมปยุตด้วยคันถะจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะโดย
ปุเรชาตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยปุเรชาตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :372 }