เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 20.สัญโญชนทุกะ 1.ปฏิจจวาร
4. สัญโญชนโคจฉกะ
20. สัญโญชนทุกะ 1. ปฏิจจวาร
1. ปัจจยานุโลม 1. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[1] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น
สีลัพพตปรามาสสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น มาน-
สังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น อวิชชาสังโยชน์อาศัย
กามราคสังโยชน์เกิดขึ้น อิสสาสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยปฏิฆสังโยชน์เกิดขึ้น
มัจฉริยสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยปฏิฆสังโยชน์เกิดขึ้น อวิชชาสังโยชน์อาศัย
ปฏิฆสังโยชน์เกิดขึ้น ภวราคสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยมานสังโยชน์เกิดขึ้น
อวิชชาสังโยชน์อาศัยภวราคสังโยชน์เกิดขึ้น อวิชชาสังโยชน์อาศัยวิจิกิจฉาสังโยชน์
เกิดขึ้น (1)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยสังโยชน์เกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์ อวิชชาสังโยชน์ สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (3)
[2] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ 1 ที่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์
เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป 1 ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (1)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :274 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 20.สัญโญชนทุกะ 1.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สังโยชน์อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น (2)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 สังโยชน์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ 1
ที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ 2 ฯลฯ (3)
[3] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัย
กามราคสังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (1)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ 1 ที่ไม่เป็น
สังโยชน์และอาศัยสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ 2 ฯลฯ (2)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และ
ที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 ทิฏฐิสังโยชน์อวิชชาสังโยชน์
และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ 1 ที่ไม่เป็นสังโยชน์และอาศัยกามราคสังโยชน์
เกิดขึ้น ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) (3)
(ในอารัมมณปัจจัย รูปไม่มี อธิปติปัจจัยเหมือนกับเหตุปัจจัย วิจิกิจฉาสังโยชน์
ไม่มี)
... เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

1. ปัจจยานุโลม 2. สังขยาวาร
สุทธนัย

[4] เหตุปัจจัย มี 9 วาระ
อารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
อธิปติปัจจัย มี 9 วาระ
อนันตรปัจจัย มี 9 วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ 9 วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 42 หน้า :275 }