เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 15. มิจฉัตตนิยตติกะ 5. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอนเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว)

นอาเสวนปัจจัยเป็นต้น
[32] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 3 เกิดระคนกับขันธ์ 1
ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด
และให้ผลแน่นอนเพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ... เกิดระคนกับปัญจวิญญาณ ฯลฯ เพราะ
นมัคคปัจจัย ... เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง
ฯลฯ
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะ
ชอบและให้ผลแน่นอนเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ 3
เกิดระคนกับขันธ์ 1 ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน ฯลฯ เกิดระคนกันขันธ์ 2
ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ 3 เกิดระคน
กับขันธ์ 1 ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ 2 ฯลฯ (1)

2. ปัจจยปัจจนียะ 2. สังขยาวาร

[33] นเหตุปัจจัย มี 1 วาระ
นอธิปติปัจจัย มี 3 วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :500 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 15. มิจฉัตตนิยตติกะ 5. สังสัฏฐวาร

นปุเรชาตปัจจัย มี 2 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี 1 วาระ
นกัมมปัจจัย มี 3 วาระ
นวิปากปัจจัย มี 3 วาระ
นฌานปัจจัย มี 1 วาระ
นมัคคปัจจัย มี 1 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี 2 วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

3. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[34] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี 3 วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี 2 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี 3 วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี 1 วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี 3 วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี 3 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี 2 วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

4. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[35] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี 1 วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี 1 วาระ (ย่อ)
อวิคตปัจจัย ” มี 1 วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :501 }