เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 12. ปริตตติกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยสหชาตปัจจัยและกัมมปัจจัย (4)
[89] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (3)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยสหชาตปัจจัย (4)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ปริตตะ มี 4 อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (1)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัปปมาณะ มี 2 อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ (2)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :457 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 12. ปริตตติกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ
มี 4 อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (1)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะ มี 2 อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ (2)

2. ปัจจยปัจจนียะ 2. สังขยาวาร

[90] นเหตุปัจจัย มี 15 วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี 15 วาระ
นอธิปติปัจจัย มี 15 วาระ
นอนันตรปัจจัย มี 15 วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี 15 วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี 12 วาระ
นนิสสยปัจจัย มี 12 วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี 14 วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี 14 วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี 15 วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี 15 วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย มี 15 วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี 12 วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี 10 วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี 10 วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี 15 วาระ
โนวิคตปัจจัย มี 15 วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี 10 วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :458 }