เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 12. ปริตตติกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (3)
[71] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 โดยนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ (1)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ (3)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ปริตตะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นอัปปมาณะและหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ 3 โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ (2)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ 1 ที่เป็นมหัคคตะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 3 โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ 1 ที่เป็นมหัคคตะและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ (2)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :443 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 12. ปริตตติกะ 7. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[72] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี 3 อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตะแล้ว ให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น มีมานะถือทิฏฐิอาศัยศีลที่เป็นปริตตะ ฯลฯ
ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... เสนาสนะแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ... ทําลายสงฆ์
ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ...
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา
... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศล
เป็นปัจจัยแก่วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย ปาณาติบาตเป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาตโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงทําให้เป็นจักกนัย) มาตุฆาตกรรมเป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม
โดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงทําให้เป็นจักกนัยเหมือนกับกุสลติกะ) (1)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตะแล้วทําฌานที่เป็น
มหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่เป็น
ปริตตะ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ทําฌานที่เป็น
มหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็น
ปริตตะ ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ปัญญาโดย
อุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็น
ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมทิพพจักขุ ฯลฯ
บริกรรมอนาคตังสญาณ ฯลฯ (2)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :444 }