เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 9. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย
... เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุป-
นิสสยปัจจัย (4)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2
อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (5)
[91] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :286 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 9. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ 7. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ผลสมาบัติและโมหะโดย
อุปนิสสยปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (3)
[92] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูป-
นิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี
2 อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :287 }