เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 9. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ 7. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 ฯลฯ
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (5)
[90] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน 3 เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 3 อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น
อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะ ... โมหะแล้วให้ทาน ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ โมหะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ฯลฯ ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี 3 อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... เสนาสนะ ... โมหะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (2)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี 3 อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ฯลฯ อาศัยโมหะแล้ว
มีมานะ ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (3)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :285 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] 9. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย
... เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุป-
นิสสยปัจจัย (4)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน 3 และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2
อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (5)
[91] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน 3 โดยอุปนิสสยปัจจัย มี 2 อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 41 หน้า :286 }