เมนู

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค [7. ราหุลสังยุต]
2. ทุติยวรรค 2-10.รูปาทิสุตตนวกะ

“ราหุล อริยสาวกผู้ได้สดับเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจักขุ ฯลฯ
ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในโสตะ ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในฆานะ ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในชิวหา
... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกาย ... ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในมโน เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลาย
กำหนัด เพราะคลายกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วก็รู้ว่า ‘หลุดพ้นแล้ว’
รู้ชัดว่า ‘ชาติสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่น
เพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไป”
[พึงย่อพระสูตรทั้ง 10 เช่นนี้]

จักขุสูตรที่ 1 จบ

2-10. รูปาทิสุตตนวกะ
ว่าด้วยพระสูตร 9 สูตรมีรูปสูตรเป็นต้น

[199] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ... เขตกรุงสาวัตถี ...
“ราหุล เธอจะเข้าใจความข้อนั้นว่าอย่างไร รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง”
“ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า” ฯลฯ
“เสียง... กลิ่น... รส... โผฏฐัพพะ... ธรรมารมณ์” ...
สูตรที่ 2 จบ
“จักขุวิญญาณ ฯลฯ โสตวิญญาณ ... ฆานวิญญาณ ... ชิวหาวิญญาณ ...
กายวิญญาณ ... มโนวิญญาณ” ...
สูตรที่ 3 จบ
“จักขุสัมผัส ฯลฯ โสตสัมผัส... ฆานสัมผัส... ชิวหาสัมผัส... กายสัมผัส...
มโนสัมผัส” ...
สูตรที่ 4 จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 16 หน้า :298 }


พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค [7. ราหุลสังยุต]
2. ทุติยวรรค 2-10.รูปาทิสุตตนวกะ

“จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ โสตสัมผัสสชาเวทนา ... ฆานสัมผัสสชาเวทนา ...
ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา ... กายสัมผัสสชาเวทนา... มโนสัมผัสสชาเวทนา” ...
สูตรที่ 5 จบ
“รูปสัญญา ฯลฯ สัททสัญญา... คันธสัญญา... รสสัญญา... โผฏฐัพพสัญญา ...
ธัมมสัญญา” ...
สูตรที่ 6 จบ
“รูปสัญเจตนา (ความจำนงรูป) ฯลฯ สัททสัญเจตนา (ความจำนงเสียง) ...
คันธสัญเจตนา (ความจำนงกลิ่น) ... รสสัญเจตนา (ความจำนงรส) ... โผฏฐัพพ-
สัญเจตนา (ความจำนงโผฏฐัพพะ) ... ธัมมสัญเจตนา (ความจำนงธรรมารมณ์) ” ...
สูตรที่ 7 จบ
“รูปตัณหา ฯลฯ สัททตัณหา... คันธตัณหา... รสตัณหา... โผฏฐัพพตัณหา...
ธัมมตัณหา” ...
สูตรที่ 8 จบ
“ปฐวีธาตุ ฯลฯ อาโปธาตุ ... เตโชธาตุ ... วาโยธาตุ ... อากาสธาตุ ...
วิญญาณธาตุ” ...
สูตรที่ 9 จบ
“ราหุล รูป ฯลฯ เวทนา ... สัญญา ... สังขารทั้งหลาย ... วิญญาณเที่ยงหรือ
ไม่เที่ยง”
“ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า” ฯลฯ
“ราหุล อริยสาวกผู้ได้สดับเห็นอยู่อย่างนี้ รู้ชัดว่า ฯลฯ ไม่มีกิจอื่นเพื่อความ
เป็นอย่างนี้อีกต่อไป”

ขันธสูตรที่ 10 จบ