เมนู

ประโยคมีชื่อ


ในพระธัมมปทัฏฐกถา 8 ภาค


ภาคที่ 1 มี 15 ประโยค
1. ประโยค ไหว้ครู ปณามคาถา (หน้า 1-2)
2. ประโยค หลงเสียงนาง สาเณโร เถรํ ยฏฺฐิโกฏิยา ฯเปฯ คจฺฉาม ภนฺเตติ ฯ (จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ
หน้า 14-17)
3. ประโยค กงเกวียน-กำเกวียน ตตฺถ มโนติ กามาวจรกุสลาทิเภทํ ฯเปฯ (จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ หน้า
หน้า 20-22)
4. ประโยค อตินาคพาธ โสวณฺณมโย ปภสฺสโร ฯเปฯ สหพฺยตํ ปตฺโตติ ฯ (มฏฺฐกุณฺฑลิวตฺถุ หน้า
26-29)
5. ประโยค กาโกโลกนัย-โลกมืด นาครา อรุเณ อนุคฺคจฺฉนฺเต ฯเปฯ ชาติเวโท อุปสมฺมตีติ ฯ (ติสฺสเถรวตฺถุ
หน้า 39-41)
6. ประโยค ยักษิณีส่งน้ำ ตทา สา ยกฺขินี ฯเปฯ อคฺคยาคุภตฺเตหิ ปฏิชคฺคิ ฯ (กาลียกฺขินิยา
อุปฺปตฺติวตฺถุ หน้า 45-48)
7. ประโยค ยกวัตร อเถโก ภิกฺขุ ตถาคตํ อุปสงฺกมิตฺวา ฯเปฯ สมคฺเค กาตุํ อสกฺขิ ฯ
(โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า 50-52)
8. ประโยค ช้างลงท่า โส ตาย อากิณฺณวิหารตาย ฯเปฯ สพฺพวตฺตานิ กโรติ ฯ (โกสมฺพิกวตฺถุ
หน้า 52-54)
9. ประโยค ช้างร้องไห้ โส หิ สตฺถารํ นิวตฺเตตุํ ฯเปฯ อยเมตฺถ อตฺโถติ ฯ (โกสมฺพิกวตฺถุ
หน้า 58-60)
10. ประโยค ปูอาสนะ อเถกา กุลธีตา ฯ อุฏฺฐาย อคมํสุ ฯ (จุลฺลกาลมหากาลวตฺถุ หน้า
64-66)
11. ประโยค เทวทัตเล็ก เอกสฺมึ หิ สมเย ฯเปฯ เทวทตฺตวตฺถุ (หน้า 70-75)
12. ประโยค พุทธดำเนิน สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก ฯเปฯ สิกฺขํ ปจฺจกฺขาย หีนายาวตฺติสฺสามีติ ฯ
(นนฺทตฺเถรวตฺถุหน้า 105-109)

13. ประโยค นันทะกระสัน อถโข ภควา อายสฺมนฺตํ ฯเปฯ สุขทุกฺเข น เวธตีติ ฯ (นนฺทตฺเถรวตฺถุ
หน้า 109-112)
14. ประโยค เทวทัตตัดงา เทวทตฺโตปิ โข นว มาเส ฯเปฯ จุลฺลธมฺมปาลชาตกญฺจ กเถสิฯ ( เทวทตฺตวตฺถุ
หน้า 136-139)
15. ประโยค ไก่ปรบปีก-โคโป สตฺถา สาธุ สาธูติ ฯเปฯ กูฏํ คณฺหีติ ฯ (เทฺวสหายกภิกฺขุวตฺถุ หน้า
146-148)
หมายเหตุ เลขหน้า ธมฺมปทฏฺฐกถา ปฐมภาค ใช้ฉบับพิมพ์ พ.ศ. 2541
ภาคที่ 2 มี 11 ประโยค
1. ประโยค ช้างออกศึก อเถกทิวสํ มาคนฺทิยา ฯเปฯ ปวิสิสฺสามีติ อาห ฯ (สามาวตีวตฺถุ หน้า
48-51)
2. ประโยค เผาปราสาท มาคนฺทิยา ยมหํ ฯเปฯ มหนฺตํ มหาสกฺการํ กาเรสิ ฯ (สามาวตีวตฺถุ
หน้า 56-59)
3. ประโยค อัปปมาท สตฺถา อาคนฺตฺวา กาย นุตฺถ ฯเปฯ ตํ กมฺมํ อกาสิ ฯ (สามาวตีวตฺถุ
-กุมฺโฆสกวตฺถุ หน้า 59-67)
4. ประโยค โจรขุดอุโมงค์ ตสฺมึ ขเณ อุมฺมงฺคโจรา ฯเปฯ โอเฆน วิกีริตุนฺติ ฯ (จูฬปนฺถกตฺเถรวตฺถุ
หน้า 85-88)
5. ประโยค ปัญญาปราสาท (มหากสฺสปตฺเถรวตฺถุ หน้า 91-92)
6. ประโยค ม้าวิ่งเร็ว (เทฺวสหายกภิกฺขุวตฺถุ หน้า 93-95)
7. ประโยค วัตตบท เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข มหาลิ ฯเปฯ สมฺม กึ กโรสีติ ฯ (สกฺกวตฺถุ หน้า
95-98)
8. ประโยค กึกิณิ-กิงกิณิก ปาสาณผลกสฺส นิสฺสนฺเทน ฯเปฯ เกลึ กตฺวา ปกฺกมึสุ ฯ (สกฺกวตฺถุ
หน้า 103-106)
9. ประโยค มังกรดั้นเมฆ (เมฆิยวตฺถุ หน้า 116-118)
10. ประโยค ครอบจักรวาฬ ตสฺเสวํ อปราปรํ ฯเปฯ จิตฺตหตฺถตฺเถรวตฺถุ ฯ (หน้า 134-140)
11. ประโยค นครนอก-นครใน สตฺถา อหํ โว อาวุธํ ฯเปฯ อารทฺธวิปสฺสกภิกฺขุวตฺถุ ฯ (หน้า 142-145)

หมายเหตุ เลขหน้า ธมฺมปทฏฺฐกถา ทุติยภาค ใช้ฉบับพิมพ์ พ.ศ. 2538

ภาคที่ 3 มี 13 ประโยค
1. ประโยค หิ่งห้อยชมสวน ตสฺส คุณเตเชน นาคภวนํ ฯเปฯ นิมุชฺชาเปตีติ ฯ (วิฑูฑภวตฺถุ หน้า
23-25)
2. ประโยค มุนีเดินดง เถโร โสปาณสีสํ ตตฺเถว ฯเปฯ มจฺฉริยโกสิยเสฏฺฐิวตฺถุ ฯ (หน้า 34-37)
3. ประโยค จำปาทอง รญฺโญ ตสฺส ฯเปฯ ฉตฺตปาณิอุปาสกวตฺถุ ฯ (หน้า 42-45)
4. ประโยค เศรษฐีสอนบุตร เอวํ มหาเสฏฺฐี จตูหิ มาเสหิ ฯเปฯ คเหตฺวา ปายาสิ ฯ (วิสาขาวตฺถุ หน้า
55-58)
5. ประโยค กัลยาณธรรม อถสฺสา เอกา สหายิกา ฯเปฯ วิสาขาวตฺถุ ฯ (หน้า 72-77)
6. ประโยค แก้วมงกุฎ (อนนฺทเถรปญฺหวตฺถุ หน้า 77-80)
7. ประโยค อัตตวินิบาตกรรม (โคธิกตฺเถรปรินิพฺพานวตฺถุ หน้า 86-89)
8. ประโยค ประทุมทอง เอวํ กิรสฺส อโหสิ ฯเปฯ ปทุมานิ อุฏฺฐหึสูติ ฯ (ครหทินฺนวตฺถุ หน้า 97-99)
9. ประโยค ลิงพาล มหาชโน กถํ สมุฏฺฐาเปสิ ฯเปฯ มหากสฺสปตฺเถรสฺส สทฺธิวิหาริกวตฺถุ
(หน้า 117-120)
10. ประโยค อานันทเศรษฐี ตมฺปิ จณฺฑาลกุลสหสฺสํ ฯเปฯ สาตฺถิกา อโหสีติ ฯ (อานนฺทเสฏฺฐิวตฺถุ หน้า
121-123)
11. ประโยค สัชชุขีรัง อถสฺส เอตทโหสิ ฯเปฯ สตฺถาปิ เตสํ กเถสิ ฯ (อหิเปตวตฺถุ-สฏฺฐิกูฏเปตวตฺถุ
หน้า 157-159)
12. ประโยค สัมภาระ อสนฺตํ ภาวมิจฺเฉยฺย (คาถา) ฯเปฯ อุปาสิกาโย จ นิกฺขมึสุ ฯ
(สุธมฺมตฺเถรวตฺถุ หน้า 166-168)
13. ประโยค องค์คด สามเณรสฺส ปน นิวตฺติตุเมว ฯเปฯ โสตาปตฺติผลาทีนี ปาปุณึสูติ ฯ
(วนวาสีติสฺสตฺเถรวตฺถุ หน้า 187-190)

หมายเหตุ เลขหน้า ธมฺมปทฏฺฐกถา ตติยภาค ใช้พิมพ์ พ.ศ. 2536

ภาคที่ 4 มี 5 ประโยค
1. ประโยค ลากินน้ำหาง ตทา ปน ปญฺจสตมตฺตา ฯเปฯ น จิรสฺเสว อาหตฺตํ ปาปุณิ ฯ ( ปญฺจสต
ภิกฺขุวตฺถุ-ธมฺมิกตฺเถรวตฺถุ หน้า 45-48)
2. ประโยค สันนิจจัย อุยฺยุญฺชนฺติ สตีมนฺโต น นิเกเต รมนฺติ ฯเปฯ ปญฺญาเปตุนฺติ ฯ
(มหากสฺสปตฺเถรวตฺถุ, เพฬฏฺฐสีสตฺเถรวตฺถุ หน้า 57-60)
3. ประโยค เสาเขื่อน ตสฺมึ ขเณ มหาโมคฺคลฺลาโร ฯเปฯ สารีปุตฺตฺเถรวตฺถุ ฯ (หน้า 66-68)
4. ประโยค ป่าไม้สะแก, ตะเคียน สตฺถริ ปน ตํ มคคํ ฯเปฯ รมณีโย เอวาติ อตฺโถ ฯ (ขทิรวนิยเรวตฺตเถรวตฺถุ
หน้า 77-90)
5. ประโยค เศรษฐีขายถ่าน กิสาโคตมีวตฺถุ (หน้า 142-147)
หมายเหตุ เลขหน้า ธมฺมปทฏฺฐกถา ใช้ฉบับพิมพ์ พ.ศ. 2538
ภาคที่ 5 มี 7 ประโยค
1. ประโยค ผีเสื้อน้ำ เทวธรรม ทกรกฺขโส ตมฺปิ อุทกํ ฯเปฯ พหุภณฺฑิกภิกฺขุวตฺถุ ฯ ( หน้า 67-70)
2. ประโยค ม้าหลบแส้ หิรินิเสโธ ปุริโสติ อิมํ ฯเปฯ ปิโลติกตฺเถรวตฺถุ ฯ ( หน้า 76-78)
3. ประโยค สนิมบาตร อถ นํ เอโก สหายโก ฯเปฯ สิริมาวตฺถุ ฯ (หน้า 96-99)
4. ประโยค ไตรวัฏฏะ ไตรวัตร เถรี กิร วีสวสฺสติกา ฯเปฯ เคเห กึ กริสฺสามิ ปพฺพชิสฺสามีติ ฯ อุตฺตรเถรีวุตฺถุ
อธิมานิกภิกฺขุวตฺถุ-รูปนนฺทตฺเถรีวตฺถุ ฯ (หน้า 99-102)
5. ประโยค กายนคร สา ตํ โอโลเกตฺวา อตฺตภาวํ ฯเปฯ รูปนนฺทตฺเถรีวตฺถุ ฯ (หน้า 104-107)
6. ประโยค ซี่โครงหัก โส หิ โพธิรุกฺขมูเล ฯเปฯ ปฐมโพธิวตฺถุฯ (หน้า 115-116)
7. ประโยค เศรษฐีขายเรือน โส สเตนปิ สตทฺวเยนปิ ฯเปฯ เอกาทสโม วคฺโค ฯ ( มหาธนเสฏฺฐิปุตฺตวตฺถุ
หน้า 118-120)

หมายเหตุ เลขหน้า ธมฺมปทฏฺฐกถา ปญฺจมภาค ใช้ฉบับพิมพ์ พ.ศ. 2535

ภาค 6 มี 6 ประโยค
1. ประโยค กุมภกรรณ์ทดน้ำ เอกทิวสํ หิ เทวทตฺโต ฯเปฯ คพโภ อสฺสตรึ ยถาติ ฯ (สงฺฆเภท
ปริสกฺกนวตฺถุ - กาลตฺเถรวตฺถุ หน้า 20-23)
2. ประโยค ราชสีห์กระทืบถ้ำ สา สาธุ อยฺยา ฯเปฯ ทิสฺวา รญฺโญ อาโรเจสิ ฯ (จิญฺจมาณวิกาวตฺถุ
หน้า 47-49)
3. ประโยค พระพุทธเจ้าเปิดโลก สพฺพพุทฺธานํ กิร อวิชฺชหิตเมว ฯเปฯ อิมํ ชาตกํ วิตฺถาเรน กเถสีติ ฯ
(ยมกปฺปาฏิหาริยวตฺถุ หน้า 91-94)
4. ประโยค โอวาทปาฏิโมกข์ โส สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา ฯเปฯ หตฺเถ ทตฺวา กาลมกาสิ ฯ
(อานนฺทตฺเถรสฺสปญฺหวตฺถุ หน้า 100-103)
5. ประโยค สรณคมน์ สตฺถา อคฺคิทตฺตํ อามนฺเตตฺวา ฯเปฯ สาวกตฺตํ ปกาเสสีติ ฯ (อคฺคิทตฺต
ปุโรหิตวตฺถุ หน้า 109-111)
6. ประโยค อยู่ร่วม ภนฺเต อหํปิ จตุนาสีติโยชนสหสฺสมตฺถเก ฯเปฯ เอวํ ภเชถ ปยิรุปาเสถาติ
อตฺโถ ฯ (สกฺกวตฺถุ หน้า 135-137)

หมายเหตุ เลขหน้า ธมฺมปทฏฺฐกถา ฏฉฺฐมภาค ใช้ฉบับพิมพ์ พ.ศ. 2541
ภาคที่ 7 มี 27 ประโยค
1. ประโยค ยถานที มลิตฺถิยา ทุจฺจริตนติ อิมํ ฯเปฯ อญฺญตรกุลปุตฺตวตฺถุ ฯ (หน้า 15-17)
2. ประโยค กากสูร สุชีวํ อหิริเกน กากสูเรน ธํสินา ฯเปฯ วนฺทิตฺวา ตมตฺถํ อาโรเจสุํ ฯ
(จูฬสาริภิกฺขุวตฺถุ - ปญฺจอุปาสิกวตฺถุ หน้า 17-20)
3. ประโยค พระครูแขวง โส กิร อตีเต ฯเปฯ ธมฺมฏฺโฐติ ปวุจฺจตีติ อตฺโถ ฯ (สุภทฺทวตฺถุ
วินิจฺฉยมหามตฺตวตฺถุ หน้า 39-42)
4. ประโยค วินิจฉัย สตฺถา น ภิกฺขเว ฉนฺทาทิวสิกา ฯเปฯ ตมตฺถํ อาโรเจสุํ ฯ (วินิจฺฉยมหา
มตฺตวตฺถุ - ฉพฺพคฺคิยวตฺถุ หน้า 41-43)
5. ประโยค พรานตกเบ็ด สตฺถา ตสฺส อวิทูเร ฯเปฯ อริยพาลิสิกวตฺถุ ฯ (หน้า 54-55)
6. ประโยค พระครูเมือง น สีลพฺพตฺมตฺเตนาติ ฯเปฯ สมฺพหุลภิกฺขุวตฺถุ ฯ (หน้า 55-57)
7. ประโยค อัฏฐังคิกมรรค มคฺคานฏฺฐงฺคิโกติ อิมํ ฯเปฯ ปโมกฺขนฺตีติ อตฺโถ ฯ (ปญฺจสตภิกฺขุวตฺถุ
หน้า 58-60)

8. ประโยค เสือซ่อนเล็บ ปริเวเณ นิสีทิตฺวา สชฺฌายนฺตา ฯเปฯ โปฐิลตฺเถรวตฺถุ ฯ (หน้า 71-73)
9. ประโยค กาวิดน้ำ มหลฺลกภาเวน ปน ธมฺมํ ฯเปฯ ลคฺคจิตฺโต ว โหตีติ อตฺโถ ฯ
(มหลฺลกตฺเถรวตฺถุ หน้า 74-76)
10. ประโยค ปทุมทอง อถ นํ สตฺถา ฯเปฯ ภาเวหีติ อตฺโถ ฯ (สารีปุตฺตตฺเถรสฺสสทฺธิวิหาริกวตฺถุ
หน้า 77-80)
11. ประโยค สองนาง ตทา หิ สตฺถา ฯเปฯ วิโสเธยฺยาติ อตฺโถ ฯ (กิสาโคตมีวตฺถุ-ปฏาจาราวตฺถุ
หน้า 83-85)
12. ประโยค ห่าลงเมือง มตฺตาสุขปริจฺจาคตาติ อิมํ ธมฺมเทสนํ ฯเปฯ สตฺถุ คมนกาลํ อาโรเจสิ ฯ
(อตฺตโนปุพฺพกมฺมวตฺถุ หน้า 87-89)
13. ประโยค บารมีสามสิบ ราชา โยชนนฺตเร ฯเปฯ เถรํ ปริวาเรสุํ ฯ (อตฺตโนปุพฺพกมฺมวตฺถุ หน้า
89-91)
14. ประโยค เสือเล็ก ภทฺทิยภิกฺขุวตฺถุ-ลกุณฺฏกภทฺทิยตฺเถรวตฺถุ (หน้า 88-103)
15. ประโยค เสือโคร่ง ตทาปิ สตฺถา ลกุณฺฏกภทฺทิยตฺเถรเมว ฯเปฯ อกฺขรานิ ฉินฺทิตฺวา คตา ฯ
(ลกุณฺฏกภทฺทิยตฺเถรวตฺถุ-ทารุสากฏิกวตฺถุ หน้า 102-105)
16. ประโยค ป่าช้าเก้า ปุนทิวเส ราชกุลโต ฯเปฯ เทสนา อโหสีติ ฯ (ทารุสากฏิกวตฺถุ หน้า
105-107)
17. ประโยค ดาวคะนอง ทุพฺปพฺพชฺชํ ทุรภิรมนฺติ ฯเปฯ วชฺชีปุตฺตภิกฺขุวตฺถุ ฯ (หน้า 107-110)
18. ประโยค ภูเขาหิมพานต์ อถสฺสา สุภทฺทา พุทฺธานญฺเจว ฯเปฯ ปญฺญายนฺตีติ อตฺโถ ฯ
(จูฬสุภทฺทาวตฺถุ หน้า 114-116)
189. ประโยค โลหะปราสาท เอกาสนนฺติ อิมํ ธมฺมเทสนํ ฯเปฯ หตลาภสกฺการํ กโรตีติ ฯ (เอก
วิหารตฺเถรวตฺถุ-สุนฺทรีปริพฺพาชิกาวตฺถุ หน้า 117-120)
20. ประโยค หัวดื้อ สตฺถา ตสฺส สํเวคกถํ ฯเปฯ อากิรตีติ อตฺโถ ฯ (เขมกเสฏฺฐิปุตฺตวตฺถุ
ทุพฺพจภิกฺขุวตฺถุ หน้า 125-129)
21. ประโยค ปัจจันตนคร ประตูเมือง อาคนฺตุกภิกฺขุวตฺถุ ฯ (หน้า 130-132)
22. ประโยค สองลัทธิ สตฺถา ภิกฺขเว อลชฺชิตพฺเพ ฯเปฯ อตฺโถ เวทิตพฺโพ ฯ (นิคฺคณฺฐวตฺถุ
ติตฺถิยสาวกวติถุ ฯ (หน้า 133-135)
23. ประโยค ช้างออกศึก อหํ นาโควาติ อิมํ ฯเปฯ อตฺตโนวตฺถุ ฯ (ปเสนทิโกสลราชวตฺถุ หน้า
136-138)

24. ประโยค พราหมณ์เฒ่า โส นิวาสนปารุปนํ ฯเปฯ อสกฺโกนฺโต เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ (ปริชิณฺณ
พฺราหฺมณปุตฺตกวตฺถุ-ปเสนทิ-หน้า 141-146)
25. ประโยค ผีสิง อุปาสิกาย วจนํ สุตฺวา ฯเปฯ สํโขเภตฺวา ปรินิพฺพายีติ ฯ (สานุสามเณรวตฺถุ
หน้า 151-154)
26. ประโยค ช้างติดหล่ม อปฺปมาทรตาติ อิมํ ธมฺมเทสนํ ฯเปฯ เถโร ตถา อกาสิ ฯ (ปาเวรกหตฺถิวตฺถุ
สมฺพหุลภิกฺขุวตฺถุ หน้า 154-156)
27. ประโยค ช้างเผือก สตฺถา เตหิ สทฺธึ ฯเปฯ สมฺพหุลภิกฺขุวตฺถุ ฯ (หน้า 156-159)
28. ประโยค ภูเขาทอง อตฺถมฺมีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ ฯเปฯ โลเก สุขนฺติ อตฺโถ ฯ (มารวตฺถุ หน้า
159-162)

หมายเหตุ เลขหน้า ธมฺมปทฏฺฐกถา สตฺตมภาค ใช้ฉบับพิมพ์ พ.ศ. 2518
ภาคที่ 8 มี 15 ประโยค
1. ประโยค ตัณหานุสัยน้อย อถ ภควา ตสฺมึ ฯเปฯ กปิลมจฺฉวตฺถุ ฯ (หน้า 5-8)
2. ประโยค ตัณหานุสัยใหญ่ สตฺถา เตสํ สํเวคํ ฯเปฯ นีหริตฺวา ฉฑฺเฑยฺยาติ อตฺโถ ฯ (สูกรโปติกาวตฺถุ
หน้า 9-12)
3. ประโยค เรือนจำ สตฺถา ภิกฺขเว กึพนฺธนานิ ฯเปฯ พนฺธนาคารวตฺถุ ฯ (พนฺธนาคารวตฺถุ หน้า
17-19)
4. ประโยค แมลงมุมชักใย เย ราครตฺตาติ อิมํ ฯเปฯ สมชฺชํ โอโลเกสิ ฯ (เขมาวตฺถุ-อุคฺคเสนเสฏฺฐิ
ปุตฺตวตฺถุ หน้า 20-22)
5. ประโยค จันทโครบ อตีเต ตสฺส จูฬธนุคฺคหปณฺฑิตกาเล ฯเปฯ จูฬธนุคฺคหปณฺฑิตวตฺถุ (หน้า
30-33)
6. ประโยค อักขรสันนิบาต เอกทิวสํ หิ วิกาเล ฯเปฯ อุปกํ อาชีวกํ อทฺทส ฯ (มารวตฺถุ-อุปกาชีวกวตฺถุ
หน้า 33-36)
7. ประโยค ผีเสื้อน้ำ สตฺถา เอกํ ภิกฺขุปิ อโนสาเทตฺวา ฯเปฯ ปญฺจภิกฺขุวตฺถุ ฯ (หน้า 48-51)
8. ประโยค กุรุธรรม ยถา โพธิสตฺโถ ฯเปฯ หํสฆาตกภิกฺขุวตฺถุ ฯ (หน้า 53-55)

9. ประโยค เต่าเหาะ โย มุขสญฺญโตติ อิมํ ธมฺมเทสนํ ฯเปฯ จินฺเตมิ อนุสฺสรามีติ ฯ โกกาลิกวตฺถุ
ธมฺมารามตฺเถรวตฺถุ หน้า 56-59)
10. ประโยค ราหูอมจันทร์ สตฺถา ตสฺส จ ฯเปฯ ปญฺจคฺคทายกพฺราหฺมณวตฺถุ ฯ (หน้า 63-66)
11. ประโยค เมตตาวิหารี สตฺถา วีสโยชนสตมตฺถเก ฯเปฯ กนฺทีติ อตฺโถ ฯ (สมฺพหุลภิกฺขุวตฺถุ หน้า
71-74)
12. ประโยค พราหมณ์ตีพราหมณ์ เถโร กินฺนาเมตนฺติ ฯเปฯ อาจริโย วา นตฺถิ ฯ (สารีปุตฺตตฺเถรวตฺถุ-มหาปชา
ปตีโคตมีวตฺถุ หน้า 109-112)
13. ประโยค ฤาษีกินเหี้ย ตถาคตสฺสาปิ ภิกฺขุสงฺฆปริวุตสฺส ฯเปฯ ปริมชฺชสีติ อตฺโถ ฯ (กุหกพฺราหฺมณวตฺถุ
หน้า 115-118)
14. ประโยค มายาหญิง ปุนเทวเส ภนฺเต ฯเปฯ สุนฺทรสมุทฺทตฺเถรวตฺถุ ฯ (หน้า 155-157)
15. ประโยค พราหมณ์ดีดกระโหลก อถ นํ สตฺถา ฯเปฯ สา ตํ วิสฺสชฺเชติ ฯ (วงฺคีสตฺเถรวตฺถุ-ธมฺมทินฺนาเถรีวตฺถุ
หน้า 185-188)

หมายเหตุ เลขหน้า ธมฺมปทฏฺฐกถา อฏฺฐมภาค ใช้ฉบับพิมพ์ พ.ศ. 2537

ธรรมบทปริทัศน์ ภาค 5-8


พระมหาชนะ ธมฺมธโช ป.ธ. 9
ภาค 5
1. กริยาปธานนัย มี 4 ตัว (หรือ 6 ตัว) ดังนี้ วฑฺเฒตฺวา (กุกฺกุฏ : 5/27),
อาทาย (ตโยชน : 5/39), อาคนฺตฺวา, ... [สา เทวตา] (โกณฺฑธาน : 5/48 * ถ้าไม่มีเนื้อ
ความในวงเล็บ ไม่จัดเป็นกิริยาปธานนัย), วตฺวา (โกณฺฑธาน : 5/50), เปเสตฺวา (อุโบสถ :
5/54), จินฺเตตฺวา [อถ นํ] (สุขสามเณร : 5/82 * ถ้าไม่มีเนื้อความในวงเล็บ ไม่จัดเป็น
กิริยาปธานนัย)
2. ชิตํ เม (จูเฬกสาฏก : 5/2) เป็นภาววาจก ยกเว้นประโยค กึ กิร เตน ชิตํ
(หน้าเดียวกัน) เป็นกัมมวาจก นักศึกษาพึงดูเปรียบเทียบ พหูหิ ชิโต (สามาวตี : 2/18)
อ. เรา เป็นผู้อันเด็ก ท. มากชนะแล้ว ย่อมเป็น
3. วิกติกัมมและสัมภาวนะ มีกฎว่า
3.1 ในประโยคกัตตุวาจกและเหตุกัตตุวาจก จะประกอบเป็นทุติยาวิภัตติ
เช่น (อหํ) ติกฺขตฺตุํ สรณํ คโต (โพธิราช : 6/3) อ. เรา เป็นผู้ถึงแล้ว
(ซึ่งพระพุทธเจ้า) ว่าเป็นที่พึ่ง สิ้นสามครั้ง ย่อมเป็น
3.2 ในประโยคกัมมวาจกและเหตุกัมมวาจก จะประกอบเป็นปฐมาวิภัตติ
เช่น ปาณาติปาตกมฺมสฺส โว ภนฺเต อการโก กโต (กุกฺกุฏ : 5/25
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. นายพรานชื่อว่ากุกกุฏมิต อันพระองค์ กระ
ทำแล้ว ให้เป็นผู้ไม่กระทำ ซึ่งกรรมคือปาณาติบาต หรือ ? และใน
ประโยคว่า อฏฺฐีนํ นครํ กตํ มํสโลหิตเลปนํ (คาถารูปนนฺทา : 5/
106) อ. สรีระนี้ (อิทํ สรีรํ) อันกรรม (กมฺเมน) กระทำแล้ว ให้เป็น
พระนคร
แห่งกระดูก ท. อันฉาบทาด้วยเนื้อและเลือด
4. ประโยคความรัก (สัมพันธ์เรียกว่า สรูป โดยการจำแนก)
ปุพฺเพว สนฺนิวาเสน ปจฺจุปฺปนฺนหิเตน วา
เอวนฺตํ ชายเต เปมํ อุปฺปลํ ว ยโถทเกติ

(กุกฺกุฏ : 5/28)