เมนู

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 ฯลฯ
ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2.
5. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
ฯลฯ ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2.
6. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก
ธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย.
[1373] 7. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ 1 ที่เป็นวิบาก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ 3 ฯลฯ.
ปัญหาวาระ มี 7 วาระ.

นิสสยปัจจัย


[1374] 1. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย มี 3 วาระ.

4. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
มี 3 วาระ.

7. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ

8. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม

คือ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
วิบากขันธ์.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์.
9. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม.
[1375] 10. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ และ
กายายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ 1 ที่เป็นวิปากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ 1 ที่เป็นวิปาก และหทยวัตถุ ฯลฯ.
11. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นวิบาก และมหาภูตรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
12. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ.
13. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม
ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของ
นิสสยปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
มี 13 วาระ.

9. อุปนิสสยปัจจัย


[1376] 1. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย
มี 2 อย่าง คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ กายิกสุข เป็นปัจจัยแก่กายิกสุ แก่
กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, กายิกทุกข์ เป็น
ปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
2. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย