คือ จิต ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลัง ๆ ฯลฯ. เนวสัญ-
ญานาสัญญายตนะ ของผู้ที่ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
การนับสองวาระนอกจากนี้ (วาระที่ 5-6) พึงกระทำเหมือนอย่างนี้.
7. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-
สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย พึงกระทำเป็น 3 วาระ (วาระที่ 7-8-9) วุฏฐานะไม่มี.
5. สมนันตรปัจจัย
เป็นปัจจัยย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี 9 วาระ เหมือน
อนันตรปัจจัย.
6. สหชาตปัจจัย ฯลฯ 8. นิสสยปัจจัย
[174] 1. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับ
ปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับปัจจยวาระ.
9. อุปนิสสยปัจจัย
[175] 1. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ พึงกระทำ 3 วาระ.
4. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่จิต
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
5. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้ว
ให้ทาน ทำลายสงฆ์.
อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
6. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานธรรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ทำสายสงฆ์.
อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
7. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-
สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ มี 3 วาระ (วาระที่ 7-8-9)
10. ปุเรชาตปัจจัย
[176] 1. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่