2. อารัมมณปัจจัย
[208] 1. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มี
ต่างกัน.
3. อธิปติปัจจัย
[209] 1. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย มี 3 วาระ อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี
พึงกระทำ.
4. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี 3 วาวะ
อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำแก่ธรรมทั้ง 3 วาระแม้เหล่านี้.
แม้ปัญหา 9 ข้อ ก็เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ในบทปลาย 3 วาระ
เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว.
4. อนันตรปัจจัย ฯลฯ 9. อุปนิสสยปัจจัย
[210] 1. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย มี 9 วาระ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มี
ต่างกัน.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี 9 วาระ.
เหมือนกับปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี 9 วาระ.
เหมือนกับปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี 9 วาระ.
เหมือนกับปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ.
เหมือนกับปัจจยวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ.
เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ.
10. ปุเรชาตปัจจัย
[211] 1. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
มี 3 วาระ.
ได้เฉพาะธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมเป็นมูลเท่านั้น ทั้ง 3 วาระนี้
เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.
11. ปัจฉาชาตปัจจัย
[212] 1. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตต-
สหภูธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย