จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายินทรีย์ ฯลฯ
พึงกระทำมูล. (วาระที่ 9)
คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ
ที่ไม่ใช่จิตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมป-
ยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ
17. ฌานปัจจัย ฯลฯ 19. สัมปยุตตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี 3 วาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี 3 วาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ.
20. วิปปยุตตปัจจัย
[182] 1. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
2. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่
จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
3. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตธรรมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
4. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย, จิต เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
5. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปยุตตปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
6. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
7. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-
สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย
มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
8. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-
สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
9. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-
สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
21. อัตถิปัจจัย
[183] 1. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
2. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่
จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี 4 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ
อาหาระ ฯลฯ.
3. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ
ปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
4. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี 5 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ ฯลฯ
5. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ