5. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
6. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม
และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
12. อาเสวนปัจจัย
[377] 1. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี 1 วาระ.
13. กัมมปัจจัย
[378] 1. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
2. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
3. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ
อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
4. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
5. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
14. วิปากปัจจัย
[379] 1. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ
ในธรรมที่มีอุปาทินนธรรมเป็นมูล มี 3 วาระ (วาระที่ 1-2-3)
4. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม
ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย