ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์
ทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ราคะ แก่ความปราถนา แก่สุขทางกาย
แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
2. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัย อุตุ โภชนะ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยัง
สมาบัติให้เกิด ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
อุตุ โภชนะ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา
แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
10. ปุเรชาตปัจจัย
[25] 1. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักษุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิณญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเร-
ชาตปัจจัย.
11. ปัจฉาชาตปัจจัย
[26] 1. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี 1 วาระ.
12. อาเสวนปัจจัย
[27] 1. สารัมมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย มี 1 วาระ.
13.กัมมปัจจัย
[28] 1. สารัมมณปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย