อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
5. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
6. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-
ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
7. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น
ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
8. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
9. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น
ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ
ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[337] ในนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในปัจจัยทั้งปวง มี 9 วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี 3 วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี 6 วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี 4 วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี 9 วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี 9 วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี 4 วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[338] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ... ใน
นอธิปติปัจจัย มี 3 วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี 3 วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี 3 วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี 3 วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี 3 วาระ
ในปัจจัยทั้งปวง มี 3 วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี 3 วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี 1 วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี 3 วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี 3 วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[339] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 2 วาระ... ใน
อธิปติปัจจัย มี 4 วาระ ฯลฯ พึงจำแนกอนุโลมมาติกาให้พิสดาร ในอวิคต-
ปัจจัย มี 9 วาระ.
อุปาทาทุกะ จบ